Description
สีชูโกกุ สีซิงค์โคลไลท์ Chugoku Zincolite สีโคลกัลวาไนซ์ Cold galvanizing compound
สีซิงค์โคลไลท์ ผลิตภัณฑเพื่การปกป้องผิวเหล็ก จากการผุกร่อน ได้อย่างมีประสิทธิภาพที่สุด สุดยอด แห่งสีรองพื้น เปิดคุณสมสมบัติที่สุดยอด ของ สีซิงค์โคลไล์ ที่ดีกว่าทุก ยี้ห้อ ในตลาด คือ ปกป้องด้วยระบบป้องกันการผุกร่อนแบบ CATHODIC PROTECTION (รายละเอียดอยู่ในหมายเหตุข้างล่าง) คุณภาพเทียบเท่ากับ การชุป HOT DIP GALVANIZING กล่าวคือ คุณภาพ ใกล้เคียงกัน หรือเทียบเท่า เนื่องจากการชุป Hot Dip นั้น แพงมาก ค่าใช้จ่ายจะเป็นกิโล ถ้างานของเรามีไม่มากพอ จะทำให้มี ค่าใช้จ่ายมากและสูง มาก ถ้า งานประมาณ 25 ตรม. แนะนำใช้สีชูโกกุ สีซิงค์โคลไลท์ ตัวนี้ ได้ความหนาที่ 80 ไมครอน ตกต้นทุนไม่เกิน 169 บาทต่อตารางเมตร เป็นต้นทุนที่ถูกกว่า นำไปชุปซิงค์ มากนัก เปิดคุณสมบัติ ของ สีซิงค์โคไลท์ คือ มีเนื้อสักกะสีบริสุทธ์ อยู่มากถึง 96 เปอร์เซนต์ ซึ่งมากที่สุดในตลาด บางแบรด์ มี แค่ 92 เปอร์เซนต์ และสีชูโกกุ ซิงค์โคลไลท์ ตัวนี้ใช้งานง่าย แค่เปิดฝา ทาได้เลย เป็นเป็นสีส่วนเดียว เคล็ดลับ ของการใช้ สีซิงค์โคลไลท์ สีโคลกัลวาไนซ์ คือ การปั่นสี ให้แตกละลาย ในแกลลอน เนื่องจากตัวสีมีความหนาแน่นสูง มี เนื้อซิงค์มากทำให้สีนอนก้นมาก เราควรใช้สว่าน และ ใบพาย ในการปั้นสี ให้เข้ากันให้มากที่สุด และค่อยใช้ทินเนอร์ เบอร์ 11 แตกลายลาย บางส่วน แล้วจึงนำไปใช้ สำคัญสุดต้องปั่น สีให้ แตกลายลาย เป็นเนื้อเดียวกัน ให้มากที่สุด อายุการใช้งานยืนนาน ยาวนาน ใช้ง่าย ด้วย แปรง ลูกกลิ้ง หรือเครื่องพ่น สนใจติด ต่อได้ที่ โทร 080-0689-888 เราให้คำปรึกษา หรือ IDLINE @chugokuonline เราบริการส่งด่วน ได้ทั่วประเทศ ภายใน 1 วัน ส่งทั่วประเทศ
หมายเหตุ 1.การป้องกันการกัดกร่อนแบบแคโทดิก (Cathodic Protection) เป็นวิธีป้องกันการกัดกร่อนโดยทำให้โครงสร้างที่ต้องการป้องกันมีสถานะเป็นขั้วแคโทด การป้องกันการกัดกร่อนแบบแคโทดิกสามารถทำได้สองแนวทาง ได้แก่ การใช้วัสดุกันกร่อน (Sacrificial anode) ที่มีศักย์ไฟฟ้ากัดกร่อนต่ำกว่ามาต่อกับโครงสร้างหลักและอาศัยหลักการการกัดกร่อนแบบกัลวานิกทำให้วัสดุกันกร่อนถูกกัดกร่อนแทน อีกแนวทางหนึ่งคือการป้อนกระแสบังคับแรงเคลื่อนไฟฟ้า (Impressed current) ให้โครงสร้างที่ต้องการป้องกันมีศักย์ไฟฟ้าสูงกว่าศักย์ไฟฟ้ากัดกร่อน ทั้งสองกรณีควรใช้ควบคู่ไปกับการเคลือบผิว เพื่อป้องกันเฉพาะจุดบกพร่องของผิวเคลือบเท่านั้น วิธีดังกล่าวเป็นที่นิยมใช้ในการป้องกันการกัดกร่อนท่อฝังดิน เรือเดินทะเล โครงสร้างแนวชายฝั่งและกลางทะเล รวมถึงในถังบรรจุน้ำหรือสารเคมี เป็นต้น
1.การป้องกันการกัดกร่อนแบบแคโทดิก (Cathodic Protection) เป็นวิธีป้องกันการกัดกร่อนโดยทำให้โครงสร้างที่ต้องการป้องกันมีสถานะเป็นขั้วแคโทด การป้องกันการกัดกร่อนแบบแคโทดิกสามารถทำได้สองแนวทาง ได้แก่ การใช้วัสดุกันกร่อน (Sacrificial anode) ที่มีศักย์ไฟฟ้ากัดกร่อนต่ำกว่ามาต่อกับโครงสร้างหลักและอาศัยหลักการการกัดกร่อนแบบกัลวานิกทำให้วัสดุกันกร่อนถูกกัดกร่อนแทน อีกแนวทางหนึ่งคือการป้อนกระแสบังคับแรงเคลื่อนไฟฟ้า (Impressed current) ให้โครงสร้างที่ต้องการป้องกันมีศักย์ไฟฟ้าสูงกว่าศักย์ไฟฟ้ากัดกร่อน ทั้งสองกรณีควรใช้ควบคู่ไปกับการเคลือบผิว เพื่อป้องกันเฉพาะจุดบกพร่องของผิวเคลือบเท่านั้น วิธีดังกล่าวเป็นที่นิยมใช้ในการป้องกันการกัดกร่อนท่อฝังดิน เรือเดินทะเล โครงสร้างแนวชายฝั่งและกลางทะเล รวมถึงในถังบรรจุน้ำหรือสารเคมี เป็นต้น
1.การป้องกันการกัดกร่อนแบบแคโทดิก (Cathodic Protection) เป็นวิธีป้องกันการกัดกร่อนโดยทำให้โครงสร้างที่ต้องการป้องกันมีสถานะเป็นขั้วแคโทด การป้องกันการกัดกร่อนแบบแคโทดิกสามารถทำได้สองแนวทาง ได้แก่ การใช้วัสดุกันกร่อน (Sacrificial anode) ที่มีศักย์ไฟฟ้ากัดกร่อนต่ำกว่ามาต่อกับโครงสร้างหลักและอาศัยหลักการการกัดกร่อนแบบกัลวานิกทำให้วัสดุกันกร่อนถูกกัดกร่อนแทน อีกแนวทางหนึ่งคือการป้อนกระแสบังคับแรงเคลื่อนไฟฟ้า (Impressed current) ให้โครงสร้างที่ต้องการป้องกันมีศักย์ไฟฟ้าสูงกว่าศักย์ไฟฟ้ากัดกร่อน ทั้งสองกรณีควรใช้ควบคู่ไปกับการเคลือบผิว เพื่อป้องกันเฉพาะจุดบกพร่องของผิวเคลือบเท่านั้น วิธีดังกล่าวเป็นที่นิยมใช้ในการป้องกันการกัดกร่อนท่อฝังดิน เรือเดินทะเล โครงสร้างแนวชายฝั่งและกลางทะเล รวมถึงในถังบรรจุน้ำหรือสารเคมี เป็นต้น
1.การป้องกันการกัดกร่อนแบบแคโทดิก (Cathodic Protection) เป็นวิธีป้องกันการกัดกร่อนโดยทำให้โครงสร้างที่ต้องการป้องกันมีสถานะเป็นขั้วแคโทด การป้องกันการกัดกร่อนแบบแคโทดิกสามารถทำได้สองแนวทาง ได้แก่ การใช้วัสดุกันกร่อน (Sacrificial anode) ที่มีศักย์ไฟฟ้ากัดกร่อนต่ำกว่ามาต่อกับโครงสร้างหลักและอาศัยหลักการการกัดกร่อนแบบกัลวานิกทำให้วัสดุกันกร่อนถูกกัดกร่อนแทน อีกแนวทางหนึ่งคือการป้อนกระแสบังคับแรงเคลื่อนไฟฟ้า (Impressed current) ให้โครงสร้างที่ต้องการป้องกันมีศักย์ไฟฟ้าสูงกว่าศักย์ไฟฟ้ากัดกร่อน ทั้งสองกรณีควรใช้ควบคู่ไปกับการเคลือบผิว เพื่อป้องกันเฉพาะจุดบกพร่องของผิวเคลือบเท่านั้น วิธีดังกล่าวเป็นที่นิยมใช้ในการป้องกันการกัดกร่อนท่อฝังดิน เรือเดินทะเล โครงสร้างแนวชายฝั่งและกลางทะเล รวมถึงในถังบรรจุน้ำหรือสารเคมี เป็นต้น
1.การป้องกันการกัดกร่อนแบบแคโทดิก (Cathodic Protection) เป็นวิธีป้องกันการกัดกร่อนโดยทำให้โครงสร้างที่ต้องการป้องกันมีสถานะเป็นขั้วแคโทด การป้องกันการกัดกร่อนแบบแคโทดิกสามารถทำได้สองแนวทาง ได้แก่ การใช้วัสดุกันกร่อน (Sacrificial anode) ที่มีศักย์ไฟฟ้ากัดกร่อนต่ำกว่ามาต่อกับโครงสร้างหลักและอาศัยหลักการการกัดกร่อนแบบกัลวานิกทำให้วัสดุกันกร่อนถูกกัดกร่อนแทน อีกแนวทางหนึ่งคือการป้อนกระแสบังคับแรงเคลื่อนไฟฟ้า (Impressed current) ให้โครงสร้างที่ต้องการป้องกันมีศักย์ไฟฟ้าสูงกว่าศักย์ไฟฟ้ากัดกร่อน ทั้งสองกรณีควรใช้ควบคู่ไปกับการเคลือบผิว เพื่อป้องกันเฉพาะจุดบกพร่องของผิวเคลือบเท่านั้น วิธีดังกล่าวเป็นที่นิยมใช้ในการป้องกันการกัดกร่อนท่อฝังดิน เรือเดินทะเล โครงสร้างแนวชายฝั่งและกลางทะเล รวมถึงในถังบรรจุน้ำหรือสารเคมี เป็นต้น